ประวัติศาสตร์ของผาแต้ม

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข24ได้เป็นถนนหลวงสายหลักเส้นหนึ่งที่นำทางจากผู้คนตอนล่างและตอนกลางของประเทศไปยังจังหวัดอุบลราชธานี

ซึ่งได้เป็นจังหวัดที่ใหญ่จังหวัดหนึ่งของทางภาคอีสานที่ได้มีเขตดินแดนติดต่อกับ สปป. ลาว  จังหวัดอุบลราชธานีเป็นดินแดนอยู่ติดริมน้ำโขงและแม่น้ำมูลอันเป็นที่อุดมสมบูรณ์นานหลายพันปีมาแล้วพื้นดินที่นี้ได้ถูกจับจองจากผู้คนต่างยุคหลายสมัยเพื่อที่จะได้ตั้งเป็นชุมชนถิ่นอาศัย

ซึ่งในปัจจุบันได้มีการค้บพบของในยุคโบราณก่อนประวัติศาสตร์อยู่หลายแห่ง ห่างจากตัวเมืองอุบลราชธานีไปทางเหนือประมาณ5กิโลเมตรที่นี้คือ วัดบ้านก้านเหลือง ซึ่งภายในได้มีการแสดงหลุมขุดค้นซึ่งเป็นส่วสนหนึ่งของแหล่งโบราณคดีที่ชื่อเดียวกันกับวัดแหล่งโบราณคดีบ้สนก้านเหลืองมีพื้นที่ค่อนข้างกว้างใหญ่แต่ที่หน้าเสียดายที่หลักฐานจำนวนมากถูกทำลายจำการพัฒนาพื้นที่โดยเฉพาะเครื่องปั่นดินเผาประเภคต่างๆ

หลุมที่ได้ขุดค้นนี้ได้ขุดพบเครื่องดินเผาที่มีขนาดใหญ่ไม่น้อยกว่า15ใบทั้งหมดนนี้มันยังถูกตั้งอยู่ในตำแหน่งเดิมที่ได้พบเป็นครั้งแรนักโบราณคดีได้เชื่อว่าบริเวณที่แห่งนี้แต่เดิมมันหน้าจะเป็นหลุมฝั่งศพเพราะจากไขดินเผาที่ได้ขุดเจอถึงแม้ว่าจะไม่พบโครงกระดูกมนุษย์นั้นหลงเหลืออยู่แต่ก็มีหลังฐานทางวิทยาศาสตร์บางอย่างบ่งบอกว่าไหเหล่านี้

เคยมีโครงกระดูกมนุษย์บรรจุอยู่แต่มันอาจจะพุพังสหลายไปแล้วจากการศึกษาทางโบราณคดีได้ระบุเอาไว้ว่าเหล่าโบราณคดีบ้านก้านเหลืองมีประวัติการใช้พื้นที่ทับซ้อนกันราว2สมัยครั้งแรกได้อยู่ก่อนสมัยในประวัติศษสตร์ตอนปลายหรือในสมัยเหล็กอายุประมาณ2,800ถึง2,500ปีมาแล้วโดยได้มรหลักฐานบ่งชี้คือเศษสำริด เศษเหล็ก ลูกปัดแก้ว หินดุด และเศษภาชนะดินเผา

ส่วนในยุคที่2 อยูในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลายต่อเนื่องกับสมัยประวัติศาสตร์ตอนต้นหลักฐานสำคัญได้แก่ ภยกาดินเผาเคลือบน้ำดินสีแดง แวดินเผา แท่งดินเผา ลูกปัดดินเผา กระพรวน สำริด และ ขวานเหล็ก ห่างจากวัดบ้านก้านเหลือไปอีกประมาณราวๆ90กิโลเมตรเศษที่นี้คือ ผาแต้ม ซึ่งได้เป็นแหล่งอารยธรรมอีกแห่งที่ยืนยันว่าได้เคยมีมนุษย์อาศัยอยู่ในพื้นที่ของจังหวัดอุบลราชธานีเมื่อหลายพันปีมาแล้ว

ผาหินกว้างริมน้ำโขงในอดีตมันคือพื้นที่ต้องห้ามชาวบ้านที่อาศัยหากินในถิ่นนี้พวกเขาจะไม่เอาร่างกายเดินเข้ามาที่ริมผาเพราะเชื่อว่าเป็นที่ดินแดนของสิ่งศักดิ์สิทธิ์ผู้ลวงล้ำมักจะเกิดเหตุร้ายอาจจะเจ็บไขได้ป่วยหรือถึงขั้นเสียชีวิตแต่ความลับของผาแต้มก็ได้ถูกเปิดเผยเมื่อขณะอาจราย์และนักศึกษาภาควิชามานุษยวิทยา คณะโบราณคดีก็ได้เดินทางมาสำรวจพื้นที่หลังมีการค้นพบภาพเขียนสีสมัยก่อนประวัติศาสตร์ติดฝังอยู่แนวหินผาหลายจุด