ประวัติศาสตร์สัญลักษณ์และรูปทับหลังที่หายไป

อาคารสถาปัตยกรรมในยุคนี้มีรูปแบบศิลปะแบบนครวัดตอนต้นราวกลางพุทธศตวรรษที่17แผนผังอาคารเน่นแนวเส้นตรงมุงสู่ปราสาทประทานประกอบด้วยบนไดต้นทางชลารูปกากบาททางดำเนิดสู่ปราสาทสุดปลายทางเดินคือสพานนาคช่วงที่1เชื่อมต่อกับบนไดขึ้นปราสาทซึ่งทำชานพักอยู่เป็นระยะ5ชั้นสุดบนไดเป็นชลากว้างสู่สพานนาคราชในช่วงที่2ผ่านเข้าสู่ซุ้มประตูระเบียงด้านนอกด้านทิศตะวันออก

ต่อจากนั้นจึงผ่านเข้าสู่ระเบียงคดล้อมเป็นกำแพงชั้นในภายในระเบียงมีปราสาทประทานเป็นที่ประดิษฐานรูปเคราพหลักของศาสตร์สถานสันนิษฐานว่าได้แก่ศิวลึงค์ประดิษฐานอยู่บนฐานยูณีอันเป็นสัญลักษณ์พลังอำนาจของพระศิวะปัจจุบันยังมีร่องรับน้ำสงฆ์ต่อลงมาสู่ปรากฏให้เห็นอยู่ปราสาทประทานมีส่วนประกอบลวดลายประดับละเอียดงดงามทุกส่วน

โดยเฉพาะภาพปติมากรรมเล่าเรื่องคําภีร์ทางศาสนาที่หน้าบันและทับหลังเช่นภาพรูปพระศิวะนาคราชเป็นภาพพระศิวะทรงฟ้อนรำอยู่บนแท่นภาพปู่มามเหศวรเป็นภาพพระศิวะและพระนางอุมาประทับนั่งบนหลังโคนนทิภาพเล่าเรื่องอวตารของพระนารายณ์และพระวิษณุเช่นเรื่องรามาวตารตอนพระรามเดิงดงตอนพระรามและพระลักษมณ์รก วิราชตอนเท้าลาดรกนางสีดาภาพตอนสุครีพรบนารีภาพตอนพระรามยกทัพเป็นต้น

ภาพปติมากรรมชิ้นเอกที่สวยงามและยังเป็นที่รูปจักกันดีคือทับหลังรูปพระวิษณุบรรทมอยู่เหนือนาคราชท่ามกลาง เกษียน สมุดหรือที่เรียกกันว่าทับหลังนารายณ์บรรทมสินธุ์ทับหลังชิ้นนี้สลักเป็นรูปพระวิษณุบรรทมอยู่เหนือนาคราชที่แผ่เศรียทั้ง5เพื่อปกป้องพระวิษณุทอดตัวอยู่เนื้อมังกรที่พระนาพีมีก้านบัวพุดขึ้นก้ารบนโดยมีรูปพระพรหมประทับอยู่เหนื่อดอกบัวมีรูปสัตว์ต่างๆเช่นนกแก้วลิงเป็นองค์ประกอบอยู่ในภาพที่งามแปลกตาอยู่ไม่น้อยทับหลังนารายณ์บรรทมสินธุ์ชิ้นนี้

ครั้งหนึ่งได้สูญหายไปจากปราสาทเขาพนมรุ้งจนถึงพุทธศักราช2508

กรมศิลปากรได้ตรวจค้นร้านโบราณวัตถุก้ได้พบชิ้นส่วนของทับหลังคือมาได้แต่ในอีกส่วนหนึ่งยังหาไม่พบต่อมาในพุทธศักราช2515ศาสตราจารย์หมเจ้าสุประดิษฐ์ ดิษฐ์สกุลอดีตคณบดีนักโบราณคดีมหาวิทยาลัยศิลปากรทรงแจ้งต่ออธิบดีกรมศิลปากรว่าทับหลังดังกล่าวได้ไปจัดแสดงที่สถาบันศิลปะแห่งเมืองชิคาโกประเทศสหรัฐอเมริกาทรงได้แนะนำให้กรมศิลปากรดำเนินการติดต่อเพื่อที่จะขอรับคืนกรมศิลปากรได้ติดต่อทวงคืนเบียงงต้นผ่านกระทรวงการต่างประเทศ

แต่ก็ไม่ประสบความสําเร็จแต่ก็ยังไม่ได้ระความพยายามยังคงติดตามดำเนินการทวงคืนอยู่เรื่อยมาจนกระทั้งถึงพุทธศักราช2530ศาสตราจารย์หมเจ้าสุประดิษฐ์ ดิษฐ์สกุลทรงแนะนำให้รื้อฟื้นการทวงทับหลังอีกครั้งครั้งนี้คณะกรรมการบริหารสถาบันศิลปะในชิคาโกได้พิจารณาคำร้องข้อของรัฐบาลไทยในที่สุดก็ยินดีส่งทับหลังคืนโดยขอแลกกับศิลปกรรมชิ้นใดชิ้นหนึ่ง