ประวัติหลวงปู่แหวน

หลวงปู่แหวนตอนอายุห้าขวบแม่ได้เสียชีวิตก่อนตายได้ขอร้องให้หลวงปู่แหวนบวชเป็นพระให้และได้ขอร้องให้บวชโดยไม่ต้องสึก ออกมาเป็นฆารวาสอีกเลย อยากให้บวชไปตลอดชีวิตซึ่งตอนนั้นหลวงปูแหวนก็รับปากแม่ว่าจะบวชให้และจะไม่สึกและเมื่อแม่ตายหลวงปู่แหวนก็ได้ย้ายไปอยู่กับยาย

พอหลวงปูแหวนไปอยู่กับยายได้ไม่นาน  ยายก็ฝันหลังจากตื่นมาจากความฝันยายก็ขอร้องให้ลูกปู่แหวนบวชและขอร้องไม่ให้สึกอยากให้บวชเป็นพระไปตลอดชีวิต ซึ่งหลวงปูแหวนก็รับปาก ยายจึงได้จัดงานบวชให้หลวงปู่แหวนกับน้าของหลวงปู่แหวน

ซึ่งตอนนั้นหลวงปู่แหวนอายุได้ 9 ขวบและหลังจากบวชได้เพียงแค่สองเดือน เณรน้าก็เสียชีวิตเพราะป่วย อยู่มาวันหนึ่งในขณะที่หลวงปู่แหวนอายุได้ 14 ปี พระอาจารย์อ้วนซึ่งเป็นอาของหลวงปู่แหวนไปฝากไว้กับพระอาจารย์สิงห์ เพื่อให้ช่วยสอนหลักธรรมศาสนา โดยในตอนนี้หลวงปู่แหวนต้องย้ายไปอยู่ที่วัดสร้างทอง

ซึ่งหลวงปู่แหวนจะเน้นการวิปัสสนาและท่านจะไม่ค่อยเล่นและเป็นพระที่พูดน้อยจะชอบมองพิจารณาธรรมชาติ พระอาจารย์สิงห์สอนแนวทางการวิปัสสนากรรมฐานและสอนด้านไสยเวทย์ โดยแนะนำให้เอามาช่วยเหลือชาวบ้านเมื่อชาวบ้านเดือดร้อน และหลวงปู่แหวนก็เรียนรู้จนสามารถนำความรู้ไปช่วยเหลือญาติโยมได้ 

และท่านยังได้รับการไว้วางใจจากพระอาจารย์สิงห์ให้คอยช่วยรดน้ำมนต์ให้กับชาวบ้านบ่อยบ่อยแต่หลวงปู่แหวนไม่ค่อยชอบ ท่านชอบนั่งวิปัสสนามากกว่า จนเมื่ออายุครบบวชเป็นพระได้เจ้าอาวาสท่านก็บวชให้และหลังจากนั้นไม่นานพระอาจารย์อ้วนก็มารับตัวกลับไปจำพรรษาอยู่ที่วัดโพธิ์ชัย วัดบ้านเกิด และเมื่อมาจำพรรษาอยู่ที่วัดแห่งนี้ท่านจะไปนั่งกรรมฐานอยู่ที่บริเวณใต้ต้นไม้ ไม่ยอมนอนในกุฎิวัดเพราะท่านมีใจฝักใฝ่ที่จะนั่งวิปัสสนาอย่างแรงกล้าไม่อยากคลุกคลีกับทางโลก

แต่ชาวบ้านก็ชอบมาคุยด้วยทำให้ท่านตัดสินใจจะออกธุดงนับตั้งแต่นั้นหลวงปู่แหวนก็ออกไปปฏิบัติธรรมเดินธุดง ในป่าเขา อาศัยอยู่ในถ้ำ ไม่ยุ่งเกี่ยวกับโลกภายนอกอีกเลย ท่านจะเดินทางธุดงไปเรื่อยเรื่อย ค่ำไหนนอนนั่นและจะมีชาวบ้านคอยนำอาหารมาบิณฑบาตท่านอยู่เป็นประจำ โดยส่วนใหญ่ท่านมักจะอยู่ธุดงในจังหวัดของภาคเหนือ 

         นี่เป็นเพียงแค่ประวัติการบวชเรียนของหลวงปู่แหวน ประวัติเต็มของทั้งหลังจากบวชเรียนมีทั้งการการปราบมารและปราบภูตผีปีศาจเต็มไปหมดเพราะได้มีการเรียนวิชาเวทย์มาแล้ว ซึ่งจะมีการนำให้บอกเล่ากันในครั้งต่อไปเมื่อมีโอกาส

 

สนับสนุนโดย  rb88

ประวัติศาสตร์สัญลักษณ์และรูปทับหลังที่หายไป

อาคารสถาปัตยกรรมในยุคนี้มีรูปแบบศิลปะแบบนครวัดตอนต้นราวกลางพุทธศตวรรษที่17แผนผังอาคารเน่นแนวเส้นตรงมุงสู่ปราสาทประทานประกอบด้วยบนไดต้นทางชลารูปกากบาททางดำเนิดสู่ปราสาทสุดปลายทางเดินคือสพานนาคช่วงที่1เชื่อมต่อกับบนไดขึ้นปราสาทซึ่งทำชานพักอยู่เป็นระยะ5ชั้นสุดบนไดเป็นชลากว้างสู่สพานนาคราชในช่วงที่2ผ่านเข้าสู่ซุ้มประตูระเบียงด้านนอกด้านทิศตะวันออก

ต่อจากนั้นจึงผ่านเข้าสู่ระเบียงคดล้อมเป็นกำแพงชั้นในภายในระเบียงมีปราสาทประทานเป็นที่ประดิษฐานรูปเคราพหลักของศาสตร์สถานสันนิษฐานว่าได้แก่ศิวลึงค์ประดิษฐานอยู่บนฐานยูณีอันเป็นสัญลักษณ์พลังอำนาจของพระศิวะปัจจุบันยังมีร่องรับน้ำสงฆ์ต่อลงมาสู่ปรากฏให้เห็นอยู่ปราสาทประทานมีส่วนประกอบลวดลายประดับละเอียดงดงามทุกส่วน

โดยเฉพาะภาพปติมากรรมเล่าเรื่องคําภีร์ทางศาสนาที่หน้าบันและทับหลังเช่นภาพรูปพระศิวะนาคราชเป็นภาพพระศิวะทรงฟ้อนรำอยู่บนแท่นภาพปู่มามเหศวรเป็นภาพพระศิวะและพระนางอุมาประทับนั่งบนหลังโคนนทิภาพเล่าเรื่องอวตารของพระนารายณ์และพระวิษณุเช่นเรื่องรามาวตารตอนพระรามเดิงดงตอนพระรามและพระลักษมณ์รก วิราชตอนเท้าลาดรกนางสีดาภาพตอนสุครีพรบนารีภาพตอนพระรามยกทัพเป็นต้น

ภาพปติมากรรมชิ้นเอกที่สวยงามและยังเป็นที่รูปจักกันดีคือทับหลังรูปพระวิษณุบรรทมอยู่เหนือนาคราชท่ามกลาง เกษียน สมุดหรือที่เรียกกันว่าทับหลังนารายณ์บรรทมสินธุ์ทับหลังชิ้นนี้สลักเป็นรูปพระวิษณุบรรทมอยู่เหนือนาคราชที่แผ่เศรียทั้ง5เพื่อปกป้องพระวิษณุทอดตัวอยู่เนื้อมังกรที่พระนาพีมีก้านบัวพุดขึ้นก้ารบนโดยมีรูปพระพรหมประทับอยู่เหนื่อดอกบัวมีรูปสัตว์ต่างๆเช่นนกแก้วลิงเป็นองค์ประกอบอยู่ในภาพที่งามแปลกตาอยู่ไม่น้อยทับหลังนารายณ์บรรทมสินธุ์ชิ้นนี้

ครั้งหนึ่งได้สูญหายไปจากปราสาทเขาพนมรุ้งจนถึงพุทธศักราช2508

กรมศิลปากรได้ตรวจค้นร้านโบราณวัตถุก้ได้พบชิ้นส่วนของทับหลังคือมาได้แต่ในอีกส่วนหนึ่งยังหาไม่พบต่อมาในพุทธศักราช2515ศาสตราจารย์หมเจ้าสุประดิษฐ์ ดิษฐ์สกุลอดีตคณบดีนักโบราณคดีมหาวิทยาลัยศิลปากรทรงแจ้งต่ออธิบดีกรมศิลปากรว่าทับหลังดังกล่าวได้ไปจัดแสดงที่สถาบันศิลปะแห่งเมืองชิคาโกประเทศสหรัฐอเมริกาทรงได้แนะนำให้กรมศิลปากรดำเนินการติดต่อเพื่อที่จะขอรับคืนกรมศิลปากรได้ติดต่อทวงคืนเบียงงต้นผ่านกระทรวงการต่างประเทศ

แต่ก็ไม่ประสบความสําเร็จแต่ก็ยังไม่ได้ระความพยายามยังคงติดตามดำเนินการทวงคืนอยู่เรื่อยมาจนกระทั้งถึงพุทธศักราช2530ศาสตราจารย์หมเจ้าสุประดิษฐ์ ดิษฐ์สกุลทรงแนะนำให้รื้อฟื้นการทวงทับหลังอีกครั้งครั้งนี้คณะกรรมการบริหารสถาบันศิลปะในชิคาโกได้พิจารณาคำร้องข้อของรัฐบาลไทยในที่สุดก็ยินดีส่งทับหลังคืนโดยขอแลกกับศิลปกรรมชิ้นใดชิ้นหนึ่ง

ไหว้ขอพร ขอลูกที่ศาลเจ้าพ่อเสือ

ในกรุงเทพมหานคร มีสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ที่ผู้คนต่างให้ความเคารพ มากมายหลายที่และหนึ่งในนั้นคือ ศาลเจ้าพ่อเสือที่ไม่ว่าจะเป็นคนจีน  หรือคนไทยเชื้อสายจีน หรือแม้แต่คนไทยแท้ ต่างก็พากันมากราบไหว้ขอพร ที่ศาลเจ้าพ่อเสือแห่งนี้ไม่ขาดสาย

นอกจากจะขอให้ประสบกับความสำเร็จ ความร่ำรวยแล้ว ยังมุ่งเน้นมาขอให้มีลูกกันด้วย โดยที่ศาลเจ้าพ่อเสือแห่งนี้มีชื่อเสียงมากเกี่ยวกับการมาขอให้มีลูก ซึ่งใครที่เดินทางมาขอลูกที่นี่มักจะสมหวังทุกรายไป

ศาลเจ้าพ่อเสือเป็นศาลเจ้าจีน ที่มีอายุเก่าแก่มายาวนาน 

และมีชื่อเสียงโด่งดังมาก ผู้คนจะเดินทางมาไหว้ขอพรกันทุกวันทำให้ที่นี่จะแน่นขนัดไปด้วยผู้คน ศาลแห่งนี้จะอยู่ติดริมถนน ด้านข้างจะมีที่สำหรับให้จอดรถ และเมื่อเดินมาทางด้านหน้าทางเข้าจะมีร้านขายของไหว้มากมายหลายร้าน ซึ่งทางร้านจะแนะนำว่าหากต้องการไหว้ขอพร

ควรไหว้อะไรบ้างหรือ หากต้องการไหว้ขอลูกต้องไหว้อะไรบ้าง และหากเราซื้อสินค้าของที่ร้านเขา เขาจะมีบริการส่งพนักงานเข้ามาแนะนำวิธีการไหว้ให้ตั้งแต่ต้นจบพิธีเลยทีเดียว แต่เดิมที่ศาลเจ้าแห่งนี้จะสามารถจุดธูปด้านในได้

แต่เนื่องจากมีคนมาไหว้เยอะทำให้ภายในมีควันลอยคุ้งเต็มศาลเจ้า ต่อมาทางเจ้าหน้าที่จึงได้ขอให้มีการยกเลิกการจุดธูปให้ทำเพียงนำธูปมาเสียบไว้ที่กระถางแทนเท่านั้นซึ่งเป็นการตอบรับ นโยบายลดมลพิษทางอากาศที่กำลังมีปัญหาอยู่ในขณะนี้ด้วย  เมื่อเราเดินเข้าไปภายในบริเวณศาลด้านหน้าจะมีประตูทางเข้าไปด้านใน

ซึ่งตรงจุดนี้เราจะต้องไหว้เป็นอันดับแรก และที่ตรงนี้เรายังสามารถเติมน้ำมันตะเกียงได้ด้วยและเมือเข้าทางด้านใน เราจะเห็นเทพเจ้าจีน ที่มีมากมายหลายองค์ ไม่ว่าจะเป็น เหี่ยงเทียงเสี่ยงตี่  ซึ่งองค์เทพองค์นี้คือองค์ประธานของศาลเจ้าแห่งนี้ และต่อมาจะเห็น เจ้าพ่อเสือ   เจ้าพ่อเห้งเจีย องค์ไฉ่ซิงเอี้ย เจ้าพ่อกวนอู และยังมีเจ้าแม่ทับทิมอีกด้วย

ว่ากันว่าศาลเจ้าพ่อเสือแห่งนี้ถูกสร้างขึ้นมาตั้งแต่สมัยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในรัชกาลที่สาม ซึ่งเดิมที่ศาลเจ้าพ่อเสือมีการสร้างอยู่ตรงริมถนนบำรุงเมืองแต่มามีการขยายถนนเพิ่ม ในสมัยของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในรัชกาลที่ห้า

ทำให้พระองค์ทรงให้ย้ายศาลเจ้าพ่อเสือมาที่ถนนตะนาว และได้พระราชทานที่ดินตรงทางสามแพร่ง จะใกล้กับวัดมหรรณราม เพื่อนำมาศาลเจ้าพ่อเสือ และคงอยู่ที่นี่มาจนถึงปัจจุบัน

เที่ยวเมืองโบราณจังหวัดสมุทรปราการ

    อีกหนึ่งสถานที่ท่องเที่ยวที่น่าสนใจและถ้ามีโอกาสผ่านมาที่จังหวัดสมุทรปราการแล้วละก็ควรแวะมาเยี่ยมชมที่นี่ นั่นก็คือ เมืองโบราณ สถานที่ท่องเที่ยวที่เป็นการรวมเอาความงามของสถาปัตยกรรมไทย ตั้งแต่ยุคสมัยโบราณ มาไว้ที่นี่และเป็นการนำสถาปัตยกรรมของทุกภาค มารวมกันที่นี่ที่เดียวค่ะ

     สำหรับเมืองโบราณนี้ เมื่อเราเข้าไปข้างในแล้วจะว่าที่นี่เป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่เหมาะจะมากันเป็นครอบครัวนี่นี่มีความร่มรื่นและเงียบสงบ

อากาศเย็นสบายไม่ร้อนช่วยให้รู้สึกผ่อนคลาย หากใครที่เป็นคนที่ชอบเกี่ยวกับสถาปัตยกรรมในสมัยโบราณ การแกะสลักลวดลายไทยไทย ขอบอกเลยว่าที่นี่คือสวรรค์ดีดีนี่เอง บริเวณโดยรอบจะมีบึงขนาดใหญ่ และจะมีการก่อสร้างอาการที่เป็นแบบทรงไทยระบายสีทองอร่ามตา เอาไว้ที่กลางน้ำ โดยจะมีการสร้างสะพานสีทองให้เดินข้ามไปเพื่อชมความงดงามของปราสาทกลางน้ำ

สำหรับที่นี่จะเป็นการจำลองสถานที่สำคัญของแต่ละจังหวัดและแต่ละภาค ที่มีชื่อเสียง ซึ่งการจำลองนี้มีการลดขนาดลงมาเพียงนิดหน่อยเท่านั้น บางสถานที่ก็มีการสร้างเท่ากับขนาดของจริงเลยก็มี และจากการศึกษาข้อมูลพบว่าสถาปัตยกรรมบางอย่างก็ได้มีการรื้อถอนของจริงมาแล้วนำมาสร้างใหม่ที่นี่ 

โดยจะมีทีมงานที่มีความรู้ความสามารถเข้ามาทำการปลูกสร้างให้เหมือนของเดิม บอกได้เลยว่าใครที่เข้ามาเที่ยวที่นี่แล้วต่างก็จะต้องร้อง อู้ฮูเลยที่เดียว เพราะมีสถานที่สำคัญและสถาปัตยกรรมที่มีความสวยงาม นำมาจำลองไว้ที่เมืองโบราณแห่งนี้มากกว่า หนึ่งร้อยรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็น พระที่นั่งสรรเพชญปราสาทจำลอง,  เรือสำเภาไทย , สวนรามเกียรติ์  , วิหารวัดภูมินทร์ ,  ศาลาพระอรหันต์ , ปราสาทหินพนมรุ้งเขาพระสุเมรุ, พระมหาธาตุเจดีย์ เรือนทับขวัญพระธาติจอมกิตติคุ้มขุนแผน, , ศาลาโถงวัดนิมิตร  ,  วัดจองคำวิหารสุโขทัย  และ ปราสาทหินพิมายเป็นต้น

และยังมีที่ยังไม่ได้กล่าวถึงอีกมากมาย เรียกได้ว่า แค่เรามาเที่ยวที่เมืองโบราณแห่งนี้ที่เดียว ก็เหมือนกับว่าเราได้เที่ยวเกือบทั้งประเทศไทยเลย สำหรับที่เที่ยวแห่งนี้เนื่องจากมีพื้นที่ขนาดใหญ่มากดังนั้นทางเจ้าหน้าที่จึงอนุญาติให้สามารถนำรถขับเข้ามาเพื่อชมความงามได้

แต่หากที่ใครไม่สะดวก ทางเจ้าหน้าที่ก็มีบริการรถรางของเมืองโบราณเอาบริการนักท่องเที่ยว แต่หากไม่อยากเที่ยวกับคนกลุ่มอื่น ต้องการความเป็นส่วนตัวก็สามารถใช้รถกอร์ฟก็ได้  และสำหรับที่เมืองโบราณแห่งนี้สามารถเข้าชมความงดงามได้ฟรี โดยไม่มีค่าใช้จ่ายใดใดเลย ยกเว้นกรณีที่ต้องการเช่ารถกอร์ฟ เที่ยวเท่าจนั้นเอง

ข้อมูลส่วนหนึ่งของโบราณสถานแห่งนี้ปราสาทประทาน

ปราสาทประทานองค์กลางปัจจุบันจะเหลือเฉพาะส่วนฐานมีแผนผังเป็นรูปสี่เลี่ยมจัตุรัสย่อมุมและมีมุกออกมาทางด้านหน้าโดยระหว่างการขุดแต่งโดยกรมศิลปากรพบชิ้นส่วนลายปูนปั่นติดอยู่ที่ฐานบองส่วนของอาคารสันนิษฐานว่าเดิมปราสาททุกหลังคงตกแต่งด้วยลายปูนปั้นประดับอย่างสวยงาม

นอกจากนี้ยังได้ขุดค้นพบศิวลึงค์ซึ่งได้สันนิษฐานว่าเดิมคงประดิษฐานอยู่ในปราสาทประทานทำให้เชื่อว่าปราสาทเมืองต่ำคงสร้างขึ้นเพื่อเป็นเทวสถานอุทิศถวายพระศิวะสอดคล้องกับหลักฐานทับหลังภาพพระศิวะคู่อยู่กับพรอุมาเชื่อว่าทับหลังชิ้นนี้เดิมหน้าจะประดิษฐานอยู่ซุ้มประตูด้านหน้าของปราสาทประทานปราสาทบริวาลแถวหน้าสององค์ตั้งอยู่สองข้างของปราสาทประทานเนื้อชั้นทานทั่วไปเป็นเนินธาตุมีแผงผังเป็นรูปสี่เลี่ยมจัตุรัสและมีประตูเข้าสู่ห้องภายในทางด้านหน้าส่วนด้านอื่นสลักเป็นรูปบานประตูจำลองมีโอกลาวอยู่ตรงกกลางเลียนแบบบานประตูไม้เหนือเรือนธาตุขึ้นไป

เป็นชั้นหลังคาช้อนลดชั้นขึ้นไป5ชั้นชั้นบนสุดประกอบด้วยบัวยอดปราสาทแต่ในปัจจุบันได้พังทลายลงเหลืออยู่แค่พียงสองชั้นปราสาทบริวาลทางด้านทิศใต้มีทับหลังจำรัสรูปบุคคลประทับนั่งในทามหาราชรีลาอยู่เหนือนาคการแถวบนสลักเป็นรูปโยคีปราสาทบริวาลทางทิศเหนือมีทับหลังแสดงภาพอุมามมเหศวรหรือพระศิวะประคองพระอุมาปราสาทบริเวณแถวหลังสององค์มีปราสาทที่เล็กกว่าแถวหน้ามีแผนผังรูปสี่เลี่ยมจัตุรัส

ตัวอาคารก่อสร้างด้วยอฐิและมีลักษณะโดยรวมเหมือนกับปราสาททางด้านหน้ากลุ่มปราสาทส่วนนี้มีทับหลังกรอบประตูประดับที่งดงามคือทับหลังของปราสาทองค์ทิศใต้มีลวดลายจำหลักมีรูปพระวรุณ ทรงหงส์อยู่เหนือนาคการและทับหลังปราสาทองค์ทิศเหนือจำหลักรูปพระกิตสนะยกเขาโควันทณะแวดล้อมด้วยเหล่าคนเลี้ยงโคลายนาคการที่อยู่เบี้ยงล่างมีท่อนพวงมาลัยออกมาจากปากและมีพวงอุบะห้อยที่กึ่งกลางทั้งสองข้าง

จัดเป็นศิลปะเขรมสมัยคลังประมาณพุทธศักราช1,510ถึง1,560ด้านหน้าปราสาทอฐิทั้ง5หลังมีอาคารณุปสี่เหลี่ยมพื้นผ้าขนาดเล็กอยู่สองหลังซึ่งได้พบภายหลังจากการขุดแต่งพื้นภายในลานประสาทชั้นในอาคารสองหลังนี้สร้างหันหน้าเข้ากลุ่มปราสาทอฐิเพื่อใช้เป็นที่เก็บรักษาคําภีร์ทางศาสนาและประกอบพิธีกรรมถึงแม้ว่าการดำเนินงานทางโบราณคดี

ในช่วงของปลายปีที่ผ่านมามันจะทำให้ได้ทราบข้อมูลส่วนหนึ่งของโบราณสถานแห่งนี้แต่ประวัติความเป็นมามันก็ยังคงเป็นเรื่องที่ลึกลับเพราะไม่พบหลักฐานที่แน่นอนว่ามีการสร้างปราสาทขึ้นเมื่อใดหรือใครที่เป็นผู้สร้างแต่การศึกษาทางรูปแบบสถานปติยกรรมและลวดลายทางศิลปะสามารถกำเนิดอายุได้ในช่วงศตวรรษที่16